วันจันทร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)

ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 5 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงแรกของกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planet) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ถูกขนานนามว่า “ดาวยักษ์แดง(Red Giant Planet)” เส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 10 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ถ้ามองจากโลกในเวลากลางคืนจะมองเห็นมีความสว่างรองจากดาวศุกร์เท่านั้น(ยกเว้ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 5 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงแรกของกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planet) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ถูกขนานนามว่า “ดาวยักษ์แดง(Red Giant Planet)” เส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 10 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ถ้ามองจากโลกในเวลากลางคืนจะมองเห็นมีความสว่างรองจากดาวศุกร์เท่านั้น(ยกเว้นดวงจันทร์) เป็นดาว 1 ใน 4 ดวงของดาวก๊าซยักษ์ (Gas Giant Planet)
ดาวพฤหัสบดีถึงแม้ว่าจะมีขนาดใหญ่โต แต่แกนกลางที่เป็นของแข็งกลับมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับตัวมันเอง เป็นดาวเคราะห์ที่ปกคลุมด้วยก๊าซทั้งดวง ซึ่งประกอบด้วย ก๊าซไฮโดรเจน 90% ฮีเลียม 10% ซึ่งอยู่ในสภาพของก๊าซ มีเทน(Methane) และ อัมโมเนีย(Ammonia) ลักษณะพิเศษของดาวพฤหัสบดีที่เด่นชัดที่คือ มีพายุหมุนขนาดใหญ่บนผิวดาวตลอดเวลา เรียกว่า Great Red Spot เนื่องจากพายุหมุนมีขนาดใหญ่มาก มันจึงใช้เวลาถึง 300 ปีจึงหมุนครบ 1 รอบ
สนามแม่เหล็กของดาวพฤหัสบดีมีความเข้มข้นกว่าสนามแม่เหล็กโลกถึง 4,0000 เท่า
ภาพถ่ายจากยาวอวกาศ Pioneer11 เมื่อปี ค.ศ.1974 พบว่าดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่เป็นวงแหวนบางๆวางตัวอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร
ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารทั้งหมด 16 ดวง คือ
1. Metis
2. Adrastea
3. Amalthea
4. Thebe
5. IO
6. Europa
7. Ganymede
8. Callisto
9. Leda
10. Himalia
11. Lysithea
12. Elara
13. Ananke
14. Carme
15. Pasiphae
16. Sinope นดวงจันทร์) เป็นดาว 1 ใน 4 ดวงของดาวก๊าซยักษ์ (Gas Giant Planet)
ดาวพฤหัสบดีถึงแม้ว่าจะมีขนาดใหญ่โต แต่แกนกลางที่เป็นของแข็งกลับมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับตัวมันเอง เป็นดาวเคราะห์ที่ปกคลุมด้วยก๊าซทั้งดวง ซึ่งประกอบด้วย ก๊าซไฮโดรเจน 90% ฮีเลียม 10% ซึ่งอยู่ในสภาพของก๊าซ มีเทน(Methane) และ อัมโมเนีย(Ammonia) ลักษณะพิเศษของดาวพฤหัสบดีที่เด่นชัดที่คือ มีพายุหมุนขนาดใหญ่บนผิวดาวตลอดเวลา ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 5 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงแรกของกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planet) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ถูกขนานนามว่า “ดาวยักษ์แดง(Red Giant Planet)” เส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 10 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ถ้ามองจากโลกในเวลากลางคืนจะมองเห็นมีความสว่างรองจากดาวศุกร์เท่านั้น(ยกเว้นดวงจันทร์) เป็นดาว 1 ใน 4 ดวงของดาวก๊าซยักษ์ (Gas Giant Planet)
ดาวพฤหัสบดีถึงแม้ว่าจะมีขนาดใหญ่โต แต่แกนกลางที่เป็นของแข็งกลับมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับตัวมันเอง เป็นดาวเคราะห์ที่ปกคลุมด้วยก๊าซทั้งดวง ซึ่งประกอบด้วย ก๊าซไฮโดรเจน 90% ฮีเลียม 10% ซึ่งอยู่ในสภาพของก๊าซ มีเทน(Methane) และ อัมโมเนีย(Ammonia) ลักษณะพิเศษของดาวพฤหัสบดีที่เด่นชัดที่คือ มีพายุหมุนขนาดใหญ่บนผิวดาวตลอดเวลา เรียกว่า Great Red Spot เนื่องจากพายุหมุนมีขนาดใหญ่มาก มันจึงใช้เวลาถึง 300 ปีจึงหมุนครบ 1 รอบ
สนามแม่เหล็กของดาวพฤหัสบดีมีความเข้มข้นกว่าสนามแม่เหล็กโลกถึง 4,0000 เท่า
ภาพถ่ายจากยาวอวกาศ Pioneer11 เมื่อปี ค.ศ.1974 พบว่าดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่เป็นวงแหวนบางๆวางตัวอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร
ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารทั้งหมด 16 ดวง คือ
1. Metis
2. Adrastea
3. Amalthea
4. Thebe
5. IO
6. Europa
7. Ganymede
8. Callisto
9. Leda
10. Himalia
11. Lysithea
12. Elara
13. Ananke
14. Carme
15. Pasiphae
16. Sinope เรียกว่า Great Red Spot เนื่องจากพายุหมุนมีขนาดใหญ่มาก มันจึงใช้เวลาถึง 300 ปีจึงหมุนครบ 1 รอบ
สนามแม่เหล็กของดาวพฤหัสบดีมีความเข้มข้นกว่าสนามแม่เหล็กโลกถึง 4,0000 เท่า
ภาพถ่ายจากยาวอวกาศ Pioneer11 เมื่อปี ค.ศ.1974 พบว่าดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่เป็นวงแหวนบางๆวางตัวอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร
ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารทั้งหมด 16 ดวง คือ
1. Metis
2. Adrastea
3. Amalthea
4. Thebe
5. IO
6. Europa
7. Ganymede
8. Callisto
9. Leda
10. Himalia
11. Lysithea
12. Elara
13. Ananke
14. Carme
15. Pasiphae
16. Sinope

ไม่มีความคิดเห็น: