วันจันทร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ดาวศุกร์ (Venus)



ดาวศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ของระบบสุริยะ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด มีความสว่างมากที่สุดในท้องฟ้าเวลากลางคืนเมื่อมองจากโลก (ยกเว้นดวงจันทร์) สามารถมองเห็นได้ทางทิศตะวันตกตอนหัวค่ำ และมองเห็นทางทิศตะวันออกก่อนรุ่งเช้า ถูกขนานนามว่า Morning Star หรือ Evening Star สำหรับประเทศไทยเรียกดาวศุกร์ว่า “ดาวประจำเมือง” ในตอนหัวค่ำ และเรียกว่า “ดาวประกายพฤกษ์” หรือ “ดาวกัลปพฤกษ์” ตอนก่อนรุ่งเช้า
ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ในกลุ่ม Terrestrial Planets เดาวศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ของระบบสุริยะ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด มีความสว่างมากที่สุดในท้องฟ้าเวลากลางคืนเมื่อมองจากโลก (ยกเว้นดวงจันทร์) สามารถมองเห็นได้ทางทิศตะวันตกตอนหัวค่ำ และมองเห็นทางทิศตะวันออกก่อนรุ่งเช้า ถูกขนานนามว่า Morning Star หรือ Evening Star สำหรับประเทศไทยเรียกดาวศุกร์ว่า “ดาวประจำเมือง” ในตอนหัวค่ำ และเรียกว่า “ดาวประกายพฤกษ์” หรือ “ดาวกัลปพฤกษ์” ตอนก่อนรุ่งเช้า
ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ในกลุ่ม Terrestrial Planets เป็นดาวเคราะห์ของแข็งทั้งดวง
- บรรยากาศมีสภาพเป็นกรดซัลฟูริคเจือจาง เป็นสารประกอบพวกกำมะถัน ไอน้ำ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ ความดันบรรยากาศประมาณ 90 เท่าของความดันบรรยากาศโลก
- อุณหภูมิที่ผิวดาว 450C สภาพเหมือนปรากฏการณ์เรือนกระจก(Green House Effect)
- มีปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก ปล่องภูเขาไฟมีขนาดใหญ่มากฐานมีความกว้างหลายร้อยกิโลเมตร สูงตระหง่าน ปากปล่องภูเขาไฟมีความกว้าง 2-3 กิโลเมตร มีธารลาวา
- ไม่มีดาวบริวาร ป็นดาวเคราะห์ของแข็งทั้งดวง
- บรรยากาศมีสภาพเป็นกรดซัลฟูริคเจือจาง เป็นสารประกอบพวกกำมะถัน ไอน้ำ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ ความดันบรรยากาศประมาณ 90 เท่าของความดันบรรยากาศโลก
- อุณหภูมิที่ผิวดาว 450C สภาพเหมือนปรากฏการณ์เรือนกระจก(Green House Effect)
- มีปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก ปล่องภูเขาไฟมีขนาดใหญ่มากฐานมีความกว้างหลายร้อยกิโลเมตร สูงตระหง่าน ปากปล่องภูเขาไฟมีความกว้าง 2-3 กิโลเมตร มีธารลาวา
- ไม่มีดาวบริวาร

ไม่มีความคิดเห็น: