วันจันทร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ดาวยูเรนัส (Uranus)

ดาวยูเรนัส (Uranus) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 7 ของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ดวงที่ 3 ของดาวเคราะห์ชั้นนอก ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของดาวก๊าซยักษ์ (Gas Giant Planet) ค้นพบโดย William Herschel ในปี 1781 และในปี 1986 ยานอวกาศ Voyager2 สามารถเข้าไปถ่ายภาพในระยะใกล้ได้สำเร็จ
ดาวยูเรนัส (Uranus) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 4 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก มวลเป็น 14 เท่าของมวลโลก แกนกลางของดาวยูเรนัสเป็นก้อนหินขนาดเล็ก รอบแกนกลางห่อหุ้มด้วย ก๊าซมีเทน(Methane) และอัมโมเนีย(Ammonia) ในสภาพที่เป็นน้ำแข็ง
บรรยากาศของดาวยูเรนัสเป็นก๊าซไฮโดรเจน(H2)และก๊าซฮีเลียม(He)
ดาวยูเรนัสมีวงแหวนบางๆอยู่รอบๆ วางตัวอยู่ในระนาบเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Plane) มีความกว้างเพียงไม่กี่กิโลเมตร ค้นพบในปี 1977
ดาวยูเรนัสมีดาวเคราะห์เป็นดาวบริวารจนวน 15 ดวง คือ
1. Cordelia
2. Ophelia
3. Bianca
4. Cressida
5. Desdemon
6. Juliet
7. Portia
8. Rosalind
9. Belinda
10. Puck
11. Miranda
12. Ariel
13. Umbriel
14. Titania
15. Oberon

ดาวเสาร์ (Saturn)

ดาวเสาร์ (Saturn) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 6 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ของดาวเคราะห์ชั้นนอก(Outer Planet) เป็นดาวเคราะห์ในกลุ่มดาวก๊าซยักษ์(Gas Giant Planet) ขนาดใหญ่เป็นที่ 2 รองจากดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.4 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางโลก มวลมากกว่าโลก 95 เท่า ความหนาแน่นเฉลี่ยเพียง 0.7 เท่าของความหนาแน่นของน้ำ มวลส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจนและก๊าซฮีเลียม ซึ่งอยู่ในสภาพของก๊าซ มีเทน(Methane) และ อัมโมเนีย(Ammonia)
แกนกลางของดาวเสาร์เป็นของแข็งประกอบด้วยหินและน้ำแข็ง เฉพาะส่วนแกนกลางของดาวเสาร์มีมวลเป็น10-15 เท่าของมวลโลกทั้งดวง
สีของดาวเสาร์มีความแตกต่างกันมากและเรียงตัวกันเป็นแถบอย่างชัดเจน และมีวงแหวนขนาดใหญ่วางตัวอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร(Equator) สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากการสำรวจด้วยกล้องโทรทรรศน์ธรรมดาๆ
ดาวเสาร์มีดาวเคราะห์เป็นดาวบริวารจำนวน 18 ดวง คือ
1. Pan
2. Atlas
3. Prometheus
4. Pandora
5. Epimetheus
6. Janus
7. Mimas
8. Enceladus
9. Tethys
10. Telesto
11. Calypso
12. Didone
13. Helene
14. Rhea
15. Titan
16. Hyperion
17. Lapetus
18. Phoebe

ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)

ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 5 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงแรกของกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planet) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ถูกขนานนามว่า “ดาวยักษ์แดง(Red Giant Planet)” เส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 10 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ถ้ามองจากโลกในเวลากลางคืนจะมองเห็นมีความสว่างรองจากดาวศุกร์เท่านั้น(ยกเว้ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 5 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงแรกของกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planet) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ถูกขนานนามว่า “ดาวยักษ์แดง(Red Giant Planet)” เส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 10 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ถ้ามองจากโลกในเวลากลางคืนจะมองเห็นมีความสว่างรองจากดาวศุกร์เท่านั้น(ยกเว้นดวงจันทร์) เป็นดาว 1 ใน 4 ดวงของดาวก๊าซยักษ์ (Gas Giant Planet)
ดาวพฤหัสบดีถึงแม้ว่าจะมีขนาดใหญ่โต แต่แกนกลางที่เป็นของแข็งกลับมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับตัวมันเอง เป็นดาวเคราะห์ที่ปกคลุมด้วยก๊าซทั้งดวง ซึ่งประกอบด้วย ก๊าซไฮโดรเจน 90% ฮีเลียม 10% ซึ่งอยู่ในสภาพของก๊าซ มีเทน(Methane) และ อัมโมเนีย(Ammonia) ลักษณะพิเศษของดาวพฤหัสบดีที่เด่นชัดที่คือ มีพายุหมุนขนาดใหญ่บนผิวดาวตลอดเวลา เรียกว่า Great Red Spot เนื่องจากพายุหมุนมีขนาดใหญ่มาก มันจึงใช้เวลาถึง 300 ปีจึงหมุนครบ 1 รอบ
สนามแม่เหล็กของดาวพฤหัสบดีมีความเข้มข้นกว่าสนามแม่เหล็กโลกถึง 4,0000 เท่า
ภาพถ่ายจากยาวอวกาศ Pioneer11 เมื่อปี ค.ศ.1974 พบว่าดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่เป็นวงแหวนบางๆวางตัวอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร
ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารทั้งหมด 16 ดวง คือ
1. Metis
2. Adrastea
3. Amalthea
4. Thebe
5. IO
6. Europa
7. Ganymede
8. Callisto
9. Leda
10. Himalia
11. Lysithea
12. Elara
13. Ananke
14. Carme
15. Pasiphae
16. Sinope นดวงจันทร์) เป็นดาว 1 ใน 4 ดวงของดาวก๊าซยักษ์ (Gas Giant Planet)
ดาวพฤหัสบดีถึงแม้ว่าจะมีขนาดใหญ่โต แต่แกนกลางที่เป็นของแข็งกลับมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับตัวมันเอง เป็นดาวเคราะห์ที่ปกคลุมด้วยก๊าซทั้งดวง ซึ่งประกอบด้วย ก๊าซไฮโดรเจน 90% ฮีเลียม 10% ซึ่งอยู่ในสภาพของก๊าซ มีเทน(Methane) และ อัมโมเนีย(Ammonia) ลักษณะพิเศษของดาวพฤหัสบดีที่เด่นชัดที่คือ มีพายุหมุนขนาดใหญ่บนผิวดาวตลอดเวลา ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 5 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงแรกของกลุ่มดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planet) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ ถูกขนานนามว่า “ดาวยักษ์แดง(Red Giant Planet)” เส้นผ่าศูนย์กลางเป็น 10 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ถ้ามองจากโลกในเวลากลางคืนจะมองเห็นมีความสว่างรองจากดาวศุกร์เท่านั้น(ยกเว้นดวงจันทร์) เป็นดาว 1 ใน 4 ดวงของดาวก๊าซยักษ์ (Gas Giant Planet)
ดาวพฤหัสบดีถึงแม้ว่าจะมีขนาดใหญ่โต แต่แกนกลางที่เป็นของแข็งกลับมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับตัวมันเอง เป็นดาวเคราะห์ที่ปกคลุมด้วยก๊าซทั้งดวง ซึ่งประกอบด้วย ก๊าซไฮโดรเจน 90% ฮีเลียม 10% ซึ่งอยู่ในสภาพของก๊าซ มีเทน(Methane) และ อัมโมเนีย(Ammonia) ลักษณะพิเศษของดาวพฤหัสบดีที่เด่นชัดที่คือ มีพายุหมุนขนาดใหญ่บนผิวดาวตลอดเวลา เรียกว่า Great Red Spot เนื่องจากพายุหมุนมีขนาดใหญ่มาก มันจึงใช้เวลาถึง 300 ปีจึงหมุนครบ 1 รอบ
สนามแม่เหล็กของดาวพฤหัสบดีมีความเข้มข้นกว่าสนามแม่เหล็กโลกถึง 4,0000 เท่า
ภาพถ่ายจากยาวอวกาศ Pioneer11 เมื่อปี ค.ศ.1974 พบว่าดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่เป็นวงแหวนบางๆวางตัวอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร
ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารทั้งหมด 16 ดวง คือ
1. Metis
2. Adrastea
3. Amalthea
4. Thebe
5. IO
6. Europa
7. Ganymede
8. Callisto
9. Leda
10. Himalia
11. Lysithea
12. Elara
13. Ananke
14. Carme
15. Pasiphae
16. Sinope เรียกว่า Great Red Spot เนื่องจากพายุหมุนมีขนาดใหญ่มาก มันจึงใช้เวลาถึง 300 ปีจึงหมุนครบ 1 รอบ
สนามแม่เหล็กของดาวพฤหัสบดีมีความเข้มข้นกว่าสนามแม่เหล็กโลกถึง 4,0000 เท่า
ภาพถ่ายจากยาวอวกาศ Pioneer11 เมื่อปี ค.ศ.1974 พบว่าดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกับดาวเสาร์ แต่เป็นวงแหวนบางๆวางตัวอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร
ดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารทั้งหมด 16 ดวง คือ
1. Metis
2. Adrastea
3. Amalthea
4. Thebe
5. IO
6. Europa
7. Ganymede
8. Callisto
9. Leda
10. Himalia
11. Lysithea
12. Elara
13. Ananke
14. Carme
15. Pasiphae
16. Sinope

ดาวอังคาร (Mars)

ดาวอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 4 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายของดาวเคราะห์ชั้นใน(Inner Planet) ถูกขนานนามว่า “ดาวแดง(Red Planet)” เนื่องจากสีของดาวอังคารเมื่อมองจากโลกเป็นสีแดงนั่นเอง และเป็นดาวเคราะห์ของแข็งทั้งดวงในกลุ่ม Terrestrial Planet
ดาวอังคารได้รับการสำรวจในระยะใกล้ด้วยยานอวกาศถึง 6 ครั้งด้วยกัน คือ
ครั้งที่ 1 ยาน Mariner4 ในปี ค.ศ.1965ดาวอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 4 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายของดาวเคราะห์ชั้นใน(Inner Planet) ถูกขนานนามว่า “ดาวแดง(Red Planet)” เนื่องจากสีของดาวอังคารเมื่อมองจากโลกเป็นสีแดงนั่นเอง และเป็นดาวเคราะห์ของแข็งทั้งดวงในกลุ่ม Terrestrial Planet
ดาวอังคารได้รับการสำรวจในระยะใกล้ด้วยยานอวกาศถึง 6 ครั้งด้วยกัน คือ
ครั้งที่ 1 ยาน Mariner4 ในปี ค.ศ.1965
ครั้งที่ 2-3 ยาน Mariner6 และ Mariner7 ในปี ค.ศ.1967
ครั้งที่ 4 ยาน Mariner9 ในปี ค.ศ.1971
ครั้งที่ 5-6 ยาน Viking1 และ Viking2 ในปี ค.ศ.1976
ดาวอังคารมีความหนาแน่น 3.95 เท่าของความหนาแน่นของน้ำ แกนกลางมีธาตุเหล็ก 25% และมีสนามแม่เหล็กอ่อน
ดาวอังคารมีค่าความดันบรรยากาศเป็น 0.7 เท่าของความดันบรรยากาศของโลก ประกอบด้วย
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 95.3%
- ก๊าซไนโตรเจน 2.7%
- ก๊าซอาร์กอน 1.6%
พื้นผิวของดาวอังคารมักมีพายุที่รุนแรง มีการเปลี่ยนแปลงของเมฆและหมอกในบริเวณหุบเขาและภูเขา บริเวณขั้วของดาวอังคารเป็นน้ำแข็งซึ่งมีองค์ประกอบเป็น น้ำ และคาร์บอนไดออกไซด์แข็งตัว (Frozen Carbon dioxide)
ดาวอังคารมีดาวบริวาร 2 ดวง คือ
1. Phobos 2. Deimos
ครั้งที่ 2-3 ยาน Mariner6 และ Mariner7 ในปี ค.ศ.1967
ครั้งที่ 4 ยาน Mariner9 ในปี ค.ศ.1971
ครั้งที่ 5-6 ยาน Viking1 และ Viking2 ในปี ค.ศ.1976
ดาวอังคารมีความหนาแน่น 3.95 เท่าของความหนาแน่นของน้ำ แกนกลางมีธาตุเหล็ก 25% และมีสนามแม่เหล็กอ่อน
ดาวอังคารมีค่าความดันบรรยากาศเป็น 0.7 เท่าของความดันบรรยากาศของโลก ประกอบด้วย
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 95.3%
- ก๊าซไนโตรเจน 2.7%
- ก๊าซอาร์กอน 1.6%
พื้นผิวของดาวอังคารมักมีพายุที่รุนแรง มีการเปลี่ยนแปลงของเมฆและหมอกในบริเวณหุบเขาและภูเขา บริเวณขั้วของดาวอังคารเป็นน้ำแข็งซึ่งมีองค์ประกอบเป็น น้ำ และคาร์บอนไดออกไซด์แข็งตัว (Frozen Carbon dioxide)
ดาวอังคารมีดาวบริวาร 2 ดวง คือ
1. Phobos 2. Deimos

โลก (Earth)

ดาวเคราะห์โลก(Earth) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 3 นับจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์ที่มีองค์ประกอบเป็นของแข็งทั้งดวง เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่มีสิ่งมีชีวิต เนื่องจากมีบรรยากาศ น้ำ และอุณหภูมิพอเหมาะ เอื้ออำนวยให้เกิดสิ่งมีชีวิตได้ โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีชีวิตชีวา เนื่องจากภายในแกนกลางยังร้อนระอุและเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา อีกทั้งเปลือกโลกก็ยังมีการเคลื่อนตัวทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ แกนกลางของโลกส่วนใหญ่เป็น Silicon ที่หลอมละลาย อุณหภูมิประมาณ 4,000 C เปลือกโลกบริเวณมหาสมุทรหนาประมาณ 10 กิโลเมตร ส่วนที่เป็นทวีปหนาประมาณ 30 กิโลเมตร
การเคลื่อนตัวของโลหะหลอมละลายในแกนกลางของโลก เป็นตัวการที่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กของโลก มีลักษณะเป็นแถบโค้งมีทิศพุ่งจากขั้วโลกเหนือไปสู่ขั้วโลกใต้
บรรยากาศโลกประกอบด้วย
- ก๊าซไนโตรเจน 77%
- ออกซิเจน 21%
- ก๊าซอาร์กอนรวมกับก๊าซอื่นๆ ฝุ่นละอองและไอน้ำ 2%
- ก๊าซออกซิเจนบางส่วนฟอร์มตัวเป็น โอโซน (Ozone: O3) ก่อตัวเป็นชั้นบางๆห่อหุ้มโลก(Ozone layer) สามารถดูดซับรังสีอัลตร้าไวโอเล็ต (Ultra violet ray : UV) ที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์ไว้ได้ สิ่งมีชีวิตบนโลกจึงปลอดภัยจากรังสีนี้
โลกมีดาวบริวารจำนวน 1 ดวง ชื่อ ดวงจันทร์(Moon)

ดาวศุกร์ (Venus)



ดาวศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ของระบบสุริยะ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด มีความสว่างมากที่สุดในท้องฟ้าเวลากลางคืนเมื่อมองจากโลก (ยกเว้นดวงจันทร์) สามารถมองเห็นได้ทางทิศตะวันตกตอนหัวค่ำ และมองเห็นทางทิศตะวันออกก่อนรุ่งเช้า ถูกขนานนามว่า Morning Star หรือ Evening Star สำหรับประเทศไทยเรียกดาวศุกร์ว่า “ดาวประจำเมือง” ในตอนหัวค่ำ และเรียกว่า “ดาวประกายพฤกษ์” หรือ “ดาวกัลปพฤกษ์” ตอนก่อนรุ่งเช้า
ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ในกลุ่ม Terrestrial Planets เดาวศุกร์ (Venus) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ของระบบสุริยะ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด มีความสว่างมากที่สุดในท้องฟ้าเวลากลางคืนเมื่อมองจากโลก (ยกเว้นดวงจันทร์) สามารถมองเห็นได้ทางทิศตะวันตกตอนหัวค่ำ และมองเห็นทางทิศตะวันออกก่อนรุ่งเช้า ถูกขนานนามว่า Morning Star หรือ Evening Star สำหรับประเทศไทยเรียกดาวศุกร์ว่า “ดาวประจำเมือง” ในตอนหัวค่ำ และเรียกว่า “ดาวประกายพฤกษ์” หรือ “ดาวกัลปพฤกษ์” ตอนก่อนรุ่งเช้า
ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ในกลุ่ม Terrestrial Planets เป็นดาวเคราะห์ของแข็งทั้งดวง
- บรรยากาศมีสภาพเป็นกรดซัลฟูริคเจือจาง เป็นสารประกอบพวกกำมะถัน ไอน้ำ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ ความดันบรรยากาศประมาณ 90 เท่าของความดันบรรยากาศโลก
- อุณหภูมิที่ผิวดาว 450C สภาพเหมือนปรากฏการณ์เรือนกระจก(Green House Effect)
- มีปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก ปล่องภูเขาไฟมีขนาดใหญ่มากฐานมีความกว้างหลายร้อยกิโลเมตร สูงตระหง่าน ปากปล่องภูเขาไฟมีความกว้าง 2-3 กิโลเมตร มีธารลาวา
- ไม่มีดาวบริวาร ป็นดาวเคราะห์ของแข็งทั้งดวง
- บรรยากาศมีสภาพเป็นกรดซัลฟูริคเจือจาง เป็นสารประกอบพวกกำมะถัน ไอน้ำ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ ความดันบรรยากาศประมาณ 90 เท่าของความดันบรรยากาศโลก
- อุณหภูมิที่ผิวดาว 450C สภาพเหมือนปรากฏการณ์เรือนกระจก(Green House Effect)
- มีปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก ปล่องภูเขาไฟมีขนาดใหญ่มากฐานมีความกว้างหลายร้อยกิโลเมตร สูงตระหง่าน ปากปล่องภูเขาไฟมีความกว้าง 2-3 กิโลเมตร มีธารลาวา
- ไม่มีดาวบริวาร

ดาวพุธ (Mercury)


ดาวพุธ (Mercury) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มองด้วยกล้องโทรทรรศน์เห็นได้ยากมาก เนื่องจากความสว่างของดวงอาทิตย์และดาวพุธมีขนาดเล็ก จนกระทั่งยานอวกาศ Mariner10 เดินทางไปสำรวจดาวพุธในระยะใกล้ในปี ค.ศ.1974 และ 1975 จึงสามารบันทึกภาพดาวพุธไว้ได้ 3 ครั้ง ได้ภาพที่ให้รายละเอียดของดาวพุธประมาณ 35%
ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ในกลุ่ม Terrestrial Planets เป็นดาวเคราะห์ของแข็งทั้งดวง
- ไม่มีบรรยากาศ
- ความหนาแน่นน้อยกว่าโลก
- แกนกลางเป็นโลหะ ประมาณ 70% เป็นเหล็ก
- มีสนามแม่เหล็กขนาด 0.1 เท่าของสนามแม่เหล็กโลก
- กลางวันอุณหภูมิ 430 C กลางคืนอุณหภูมิ -170 C
- ไม่มีดาวบริวาร